Namensänderung nach der Heirat im Hausregister in Thailand

Thailändische Staatsbürger/innen müssen ihre in Deutschland geschlossene Ehe in Thailand registrieren lassen, wobei der Familienstand und/oder der Nachname geändert werden.

Dies bedeutet die Änderung des Familienstandes von „miss“ zu „mrs.“ und die Änderung des Nachnamens.

Folgende Schritten sind vorzunehmen:

  • der Internationale Auszug aus dem Heiratseintrag (ausgestellt vom für Ihre Eheschließung zuständigen Standesamt) muss zunächst von der zuständigen deutschen Behörden legalisiert werden (für Schleswig-Holstein ist das Innenministerium, Düsternbrooker Weg 92, 24105 Kiel, Tel.: 0431/988-0 zuständig)
  • nach der Legalisierung muss dieser Internationale Auszug aus dem Heiratseintrag von einem vereidigten Übersetzer ins Thailändische übersetzt werden.
  • der Internationale Auszug aus dem Heiratseintrag und die Übersetzung müssen beim thailändischen Generalkonsulat in Frankfurt/M oder beim thailändischen Botschaft in Berlin beglaubigt werden. Die Gebühr hierfür beträgt 30,00 € (in Bar)
  • die vom Generalkonsulat oder vom thailändischen Botschaft beglaubigte Dokumte
    (aus Schritt 3) müssen bei:
    Legelization Division
    Department of Consular Affairs
    Ministry of Foreign Affairs
    123 Caengwatthana Road, Lak Si
    Bangkok 10210, Thailand
    Tel.: +66 2 575 1056-59
    zur Endbeglaubigung vorgelegt werden. Hierbei muss eine Kopie des Personalausweises oder des Reisepasses des Ehemannes vorgelegt werden.
  • Die endbeglaubigten Dokumente (aus Schritt 4) können anschließend bei der zuständigen Heimatbehörde in Thailand vorgelegt werden zwecks:
    zur Registrierung der in Deutschland geschlossenen Ehe
    zur Änderung des Familienstandes und/oder zur Änderung des Nachnamens im Hausregister.

 

Zu beachten ist , dass – falls die Ehefrau nach der Heirat den Namen des Ehemannes annimmt – für die Änderung des Nachnamens die Zustimmung des Ehemannes (Einverständniserklärung) benötigt wird. Der Vordruck erhalten Sie beim Generalkonsulat in Frankfurt oder beim thailändischen Botschaft in Berlin.

Ein persönliches Erscheinen, um die Unterschrift in der Einverständniserklärung zu leisten ist erforderlich. Die Gebühr beträgt hierfür 15,00 €.

Normalerweise ist die Namensänderung innerhalb von 90 Tagen nach der Ehechließung im thailändischen Hausregister vorzunehmen. Eine verspätete Namensänderung ist jedoch möglich.

Es ist ebenfalls möglich, die Namensänderung im thailändischen Hausregister anhand einer Vollmacht durchzuführen. Die Vollmachterteilung muss beim Generalkonsulat in Frankfurt oder beim thailändischen Botschaft in Berlin erfolgen.

Die Namensänderung im thailändischen Hausregister ist sehr wichtig, zum Beispiel für den Antrag auf einen elektronischen Reisepass (E-Pass). Ist der Nachname noch nicht geändert, wird der E-Pass auf den Geburtsnamen bzw. auf den zum Zeitpunkt der Ausstellung bei Zentralregisteramt registrierten Namen ausgestellt.

 

 

 

Sämtliche Informationen stammen von den Merkblättern des thailändischen Generalkonsulat Frankfurt.

Stand September 2012. Alle Angaben ohne Gewähr

 

การเปลี่ยนนามสกุลหลังสมรสและ/หรือคำนำหน้าชื่อสมรส

 

 บุคคลสัญชาติไทยที่จดทะเบียนสมรสในสำนักทะเบียนประจำประเทศสพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันี

สามารถยื่นคำร้องขอเปลี่ยนฐานะทางครอบครัวหลังการสมรส เช่น โดยการเปลี่ยนคำนำหน้าชื่อจาก

"นางสาว" เป็น "นาง" และ/หรือขอเปลี่ยนนามสกุลหลังการสมรสได้ดังนี้

 

1 . การแจ้งเปลี่ยนคำนำหน้าชื่อและนามสกุลหลังการสมรสชั่วคราวในหนังสือเดินทาง

 

การแจ้งเปลี่ยนคำนำหน้าชื่อและ/หรือนามสกุลหลังสมรสชั่วคราวทำได้แต่ในหนังสือเดินทางรูปแบบเก่าเท่านั้น ในหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (อี-พาสปอร์ต) ไม่สามารถขอแจ้งเปลี่ยนได้แต่อย่างใด

 

  • นำสำเนาคัดจากทะเบียนการสมรสแบบหลายภาษา (Internationaler Auszug aus dem Heiratseintrag) ไปรับรองที่หน่วยงานราชการเยอรมันที่เกี่ยวข้องในแต่ละรัฐ

(รัฐ ชเลสวิก-โฮลชไตน์ คือ กระทรวงการภายใน/Innenministerium, Düsternbrooker Weg 92, 24105 Kiel โทร 0431/988-0)

และหากจดทะเบียนสมรสตามกฏหมายของประเทศอื่นๆ เช่น เดนมาร์ก ต้องนำทะเบียนสมรสดังกล่าวไปรับรองที่กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงต่างประเทศของเดนมาร์ก และที่สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโคเปนฌฮเกน ตามลำดับ

"บันทึกฐานะแห่งครอบครัว"(Familienbuch) และ "ใบรับรองการสรส" (Bescheinigung über die Eheschließung) นำมาใช้เป็นหลักฐานแทนใบสำคัญการสมรสไม่ได้

 

  • นำใบทะเบียนสมรสที่รับรองมาแล้ว (สำเนา 1 ชุด) มายื่นคำร้องขอเปลี่ยนคำนำหน้าชื่อ

และ/หรือ ขอเปลี่ยนนามสกุลที่สถานกงสุลใหญ่ ที่ เมือง Frankfurt หรือ เอกอัครราชทูต ที่ Berlin โดยยื่นเอกสารประกอบต่อไปนี้

-         สำเนาทะเบียนบ้านไทย หรือบัตรประจำตัวประชาชน 1 ชุด

-         หนังสือเดินทางตัวจริง และสำเนาหนังสือเดินทาง 1 ชุด

-         ซองเปล่าติดแสตมป์ 3.50 ยูโร (หากยื่นทางไปรษณีย์)

-         ค่าธรรมเนียม 3 ยูโร (ส่งเป็นเงินสดเท่านั้น)

 

2. การแจ้งบันทึกฐานะครอบครัวและเปลี่ยนนามสกุลในทะเบียนบ้านไทย

 

  • นำทะเบียนสมรสที่รับรองแล้วไปให้นักแปลภาษาไทยที่มีใบอนุญาติจากศาลเยอรมันแปลเป็นภาษาไทย
  • นำทะเบียนสมรสพร้อมคำแปลไปรัรองที่สถานกงสุลใหญ่ ที่ เมือง Frankfurt หรือ เอกอัครราชทูต ที่ Berlin (ค่ารับรองเอกสาร 30 ยูโร)
  • นำทะเบียนสมรสพร้อมคำแปลที่รับรองแล้วจากสถานกงสุลใหญ่ ที่ เมือง Frankfurt หรือ เอกอัครราชทูต ที่ Berlin ไปรับรองครั้งสุดท้ายที่
  • กองสัญชาติและนิติกรณ์ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ ถนน แจ้งวัฒนะ เขตุหลักสี่ กรุงเทพ 10210 โทร 02-575-1056-59
  • นำทะเบียนสมรสและคำแปลที่รับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ ไปแจ้งทะเบียนที่เขต/อำเภอในประเทศไทยที่ท่านมีชื่อในทะเบียนบ้าน    เพื่อขอให้บันทึกฐานะแห่งครอบครัวหลังการสมรส (คร. 22)  และขอเปลี่ยนคำนำหน้าชื่อ และ/หรือเปลี่ยนนามสกุลในทะเบียนบ้านภายหลังการสมรส หลังจากนั้นจึงจะนำทะเบียนบ้านไปติดต่อขอทำบัตรประจำตัวประชาชนใหม่

 

ในกรณีหลังสมรสและใช้นามสกุลของสามี เวลาไปแจ้งเปลี่ยนนามสกุล ต้องยื่นหนังสือยิยยอมของสามีประกอบด้วย

โดยปกติแล้ว หากท่านใช้นามสกุลของคู่สมรสเป็นนามสกุลสมรส ท่านต้องแจ้งเปลี่ยนนามสกุลหลังสมรสในทะเบียนบ้านไทย ภายใน 90 วัน หลังจากสมรส กรณีที่ท่านไม่สามารถเดินทางกลับประเทศไทยไปดำเนินการเปลี่ยนนามสกุลด้วยตนเองได้ ท่านสามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นที่บรรลุนติภาวะ ไปดำเนินการแทนได้ โดยต้องยื่นคำร้องมอบอำนาจด้วยตนเองที่ สถานกงสุลใหญ่ ที่ เมือง Frankfurt หรือ เอกอัครราชทูต ที่ Berlin
แต่อย่างไรก็ตามท่านสามารถดำเนินการเปลี่ยนนามสกุลและ/หรือแจ้งเปลี่ยนบันทึกฐานะครอบครัว ด้วยตนเองหลังจาก 90 วันที่กำหนดไว้ได้

 

ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นนำมาจาก สถานกงสุลใหญ่ ณ นครแฟรงก์เฟิร์ต

กันยายน 2555